วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๑๗. อานิสงส์ของผู้มีศีล

สีลวนฺตอานิสํสา
อานิสงส์ของผู้มีศีล
๑๕๐. ‘‘ปญฺจิเม, คหปตโย, อานิสํสา สีลวโต สีลสมฺปทายฯ กตเม ปญฺจ? อิธ, คหปตโย, สีลวา สีลสมฺปนฺโน อปฺปมาทาธิกรณํ มหนฺตํ โภคกฺขนฺธํ อธิคจฺฉติฯ อยํ ปฐโม อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ
๑๕๐. คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อานิสงฺสา[1] อานิสงส์ท. ปญฺจอิเม เหล่านี้ สีลสมฺปทาย แห่งความถึงพร้อมแห่งศีล สีลวโต ของผู้มีศีล. อานิสงฺสา อานิสงส์ท. ปญฺจกตเม เหล่าไหน?. คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. สีลวา ผู้มีศีล สีลสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล อธิคจฺฉติ = ปฏิลภติ ย่อมได้ โภคกฺขนฺธํ ซึ่งกองโภคะ มหนฺตํ ใหญ่ อปฺปมาทาธิกรณํ เพราะเหตุแห่งความไม่ประมาท. อานิสงฺโส อานิสงส์ ปฐโม อย่างแรก สีลสมฺปทาย แห่งศีลที่ถึงพร้อมแล้ว สีลวโต ของผู้มีศีล อยํ นี้.

๑๖. โทษของผู้ทุศีล

๑๔๙. อถ โข ภควา ปาฏลิคามิเก อุปาสเก อามนฺเตสิ – ‘‘ปญฺจิเม, คหปตโย, อาทีนวา ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยาฯ กตเม ปญฺจ? อิธ, คหปตโย, ทุสฺสีโล สีลวิปนฺโน ปมาทาธิกรณํ มหติํ โภคชานิํ นิคจฺฉติฯ อยํ ปฐโม อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยาฯ
๑๔๙ อถ โข ต่อมา ภควา พระผู้มีพระภาค อามนฺเตสิ ทรงตรัสแล้ว อุปาสเก กะอุบาสกท.[1] ปาฏลิคามิเก ชาวเมืองปาฏลิคาม อิติ ว่า คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อาทีนวา โทษท. ปญฺจอิเม เหล่านี้ ทุสฺสีลสฺส แห่งผู้ไม่มีศีล สีลวิปตฺติยา แห่งศีลวิบัติ, อาทีนวา โทษท. ปญฺจ กตเม เหล่าไหน, คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. ทุสฺสีโล ผู้ไม่มีศีล สีลวิปนฺโน มีศีลวิบัติแล้ว อิธ ในโลกนี้ นิคจฺฉติ ย่อมประสบ โภคชานึ ซึ่งความเสื่อมแห่งโภคทรัพย์ มหติํ ใหญ่หลวง[2] ปมาทาธิกรณํ เพราะเหตุแห่งความประมาท[3].อาทีนโว โทษ สีลวิปตฺติยา แห่งศีลวิบัติ ทุสฺสีลสฺส แห่งผู้ไม่มีศีล ปฐโม อย่างแรก อยํ นี้.[4]

๑๕. เสด็จไปปาฏลิคาม ตรัสโทษของผู้ทุศีลและอานิสงส์ของผู้มีศีล

ทุสฺสีลอาทีนวา
๑๔๘. อถ โข ภควา นาฬนฺทายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ –  ‘‘อายามานนฺท, เยน ปาฏลิคาโม เตนุปสงฺกมิสฺสามา’’ติฯ ‘‘เอวํ, ภนฺเต’’ติ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต ปจฺจสฺโสสิ
อถ โข ครั้งนั้นแล ภควา พระผู้มีพระภาค วิหริตฺวา ครั้นประทับอยู่ นาฬนฺทายํ ในเมืองนาฬันทา ยถาภิรนฺตํ ตามพอพระทัย อามนฺเตสิ ตรัสเรียกแล้ว[1] อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ ซึ่งท่านพระอานนท์ อิติ ว่า อานนฺท ดูก่อนอานนท์ มยํ เราท. อายาม จะไป, ปาฏลิคาโม เมืองปาฏลิคาม อตฺถิ มีอยู่ เยน = ยตฺถทิสาภาเค ในส่วนแห่งทิศใด, มยํ เราท. อุปสงฺกมิสฺสาม จะเข้าไป เตน ทิสาภาเคน โดยส่วนแห่งทิศนั้น ดังนี้. อายสฺมา อานนฺโท ท่านพระอานนท์ ปจฺจสฺโสสิ ทูลรับพระดำรัสแล้ว ภควโต ต่อพระผู้มีพระภาค อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เอวํ พระเจ้าข้า ดังนี้.

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๑๔ พระสารีบุตรบันลือสีหนาท

สาริปุตฺตสีหนาโท
๑๔๕. อถ โข อายสฺมา สาริปุตฺโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา  เอกมนฺตํ นิสีทิฯ เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา สาริปุตฺโต ภควนฺตํ เอตทโวจ – ‘‘เอวํปสนฺโน อหํ, ภนฺเต, ภควติ; น จาหุ น จ ภวิสฺสติ น เจตรหิ วิชฺชติ อญฺโญ สมโณ วา พฺราหฺมโณ วา ภควตา ภิยฺโยภิญฺญตโร ยทิทํ สมฺโพธิย’’นฺติฯ

การบันลือสีหนาท (กล่าววาจาอาจหาญ) ของพระสารีบุตรเถระ
๑๔๕. อถ โข ลำดับนั้น, ภควา พระผู้มีพระภาค วิหรติ ทรงประทับอยู่ เยน = ยตฺถ ทิสาภาเค ในส่วนแห่งทิศใด,  อายสฺมา สาริปุตฺโต ท่านพระสารีบุตร อุปสงฺกมิ เข้าไปเฝ้าแล้ว เตน ทิสาภาเคน โดยส่วนแห่งทิศนั้น. อุปสงฺกมิตฺวา ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว อภิวาเทตฺวา ถวายบังคมแล้ว ภควนฺตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาค นิสีทิ นั่งแล้ว เอกมนฺตํ อย่างสมควร. อายสฺมา สาริปุตฺโต ท่านพระสารีบุตร นิสินฺโน โข ผู้นั่งแล้ว เอกมนฺตํ อย่างสมควร อโวจ ได้กราบทูลแล้ว เอตํ (วจนํ) ซึ่งคำนั้น ภควนฺตํ กะพระผู้มีพระภาค อิติ ว่า ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อหํ ข้าพระองค์ เอวํปสนฺโน เป็นผู้มีความเลื่อมใสเช่นนี้[1] ภควติ ในพระผู้มีพระภาค อมฺหิ ย่อมเป็น, สมโณ วา สมณะ หรือ พฺราหฺมโณ วา หรือว่า พราหมณ์   อญฺโญ อื่น ภิยฺโญภิญฺญตโร[2] ผู้มีปัญญารู้แจ้งโดยยิ่งกว่า ภควตา กว่าพระผู้มีพระภาค ยทิทํ สมฺโพธิยํ ในพระสัมโพธิญาณ[3] น อาหุ จ ไม่ได้มีแล้ว ด้วย น ภวิสฺสติ จ จักไม่มีด้วย น วิชฺชติ ย่อมไม่มี เอตรหิ ในบัดนี้ ด้วย ดังนี้.

วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๑๓ เสด็จไปยังเมืองนาฬันทา

 เสด็จไปยังเมืองนาฬันทา

๑๔๒. ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรนฺโต คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต เอตเทว พหุลํ ภิกฺขูนํ ธมฺมิํ กถํ กโรติ – ‘‘อิติ สีลํ, อิติ สมาธิ, อิติ ปญฺญาฯ สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานิสํโสฯ สมาธิปริภาวิตา ปญฺญา มหปฺผลา โหติ มหานิสํสาฯ ปญฺญาปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺมเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ, เสยฺยถิทํ กามาสวา, ภวาสวา, อวิชฺชาสวา’’ติฯ

สุทํ ได้ยินว่า ภควา พระผู้มีพระภาค วิหรนฺโต เมื่อประทับอยู่ ปพฺพเต ที่ภูเขา คิชฺฌกูเฏ ชื่อว่า คิชฌกูฏ ราชคเห ใกล้เมืองชื่อว่า ราชคฤห์ กโรติ ย่อมทรงกระทำ กถํ ซึ่งพระดำรัส ธมฺมิํ  อันประกอบด้วยธรรม[1] เอตํ นี้ เอว นั่นเทียว ภิกฺขูนํ แก่ภิกษุทั้งหลาย พหุลํ = ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ[2] อิติ ว่า สีลํ ศีล[3] อิติ[4] เป็นอย่างนี้และมีเท่านี้, สมาธิ สมาธิ อิติ เป็นอย่างนี้และมีเท่านี้[5], ปญฺญา อิติ   เป็นอย่างนี้และมีเท่านี้. สมาธิ สมาธิ สีลปริภาวิโต อันศีลให้เกิดโดยประการทั้งปวงแล้ว[6] มหปฺผโล เป็นคุณชาตมีผลมาก มหานิสํโส เป็นคุณชาตมีอานิสงส์มาก โหติ ย่อมเป็น[7]. ปญฺญา ปัญญา สมาธิปริภาวิตา อันสมาธิทำให้มีโดยประการทั้งปวงแล้ว มหปฺผลา เป็นคุณชาตมีผลมาก มหานิสํสา เป็นคุณชาตมีอานิสงส์มาก[8] โหติ ย่อมเป็น. จิตฺตํ จิต ปญฺญาปริภาวิตํ อันปัญญาให้เกิดโดยประการทั้งปวงแล้ว[9] วิมุจฺจติ ย่อมหลุดพ้น สมฺมา เอว โดยชอบนั่นเทียว[10] อาสเวหิ จากอาสวะทั้งหลาย เสยฺยถิทํ คือ[11] กามาสวา กามาสวะ, ภวาสวา ภวาสวะ อวิชฺชาสวา อวิชชาสวะ.

๑๒ ภิกขุอปริหานิยธรรม ชุดที่ ๖

๑๔๑. ‘‘, โว ภิกฺขเว, อปริหานิเย ธมฺเม เทเสสฺสามิ, ตํ สุณาถ, สาธุกํ มนสิกโรถ, ภาสิสฺสามี’’ติฯ ‘‘เอวํ, ภนฺเต’’ติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํฯ ภควา เอตทโวจ
๑๔๑. ภควา พระผู้มีพระภาค อาห ตรัสแล้ว อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อหํ เรา เทเสสฺสามิ จักแสดง ธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งหลาย อปริหานิเย อันสร้างความไม่เสื่อม  ฉ ๖  โว แก่พวกเธอ,  ตุมฺเห พวกเธอ สุณาถ จงฟัง ตํ ธมฺมํ ซึ่งธรรมนั้น,  มนสิกโรถ จงใส่ใจ ตํ ธมฺมํ ซึ่งธรรมนั้น สาธุกํ อย่างดี,  อหํ เรา ภาสิสฺสามิ  จักกล่าว ดังนี้.  เต ภิกฺขู ภิกษุเหล่านั้น ปจฺจสฺโสสุํ รับสนองพระดำรัสแล้ว ภควโต ต่อพระผู้มีพระภาค อิติ  ว่า  ภนฺเต  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เอวํ พระเจ้าข้า ดังนี้.    ภควา พระผู้มีพระภาค อโวจ ตรัสแล้ว เอตํ ซึ่งพระดำรัสนั้นว่า[๑]