วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

๑๗. อานิสงส์ของผู้มีศีล

สีลวนฺตอานิสํสา
อานิสงส์ของผู้มีศีล
๑๕๐. ‘‘ปญฺจิเม, คหปตโย, อานิสํสา สีลวโต สีลสมฺปทายฯ กตเม ปญฺจ? อิธ, คหปตโย, สีลวา สีลสมฺปนฺโน อปฺปมาทาธิกรณํ มหนฺตํ โภคกฺขนฺธํ อธิคจฺฉติฯ อยํ ปฐโม อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ
๑๕๐. คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อานิสงฺสา[1] อานิสงส์ท. ปญฺจอิเม เหล่านี้ สีลสมฺปทาย แห่งความถึงพร้อมแห่งศีล สีลวโต ของผู้มีศีล. อานิสงฺสา อานิสงส์ท. ปญฺจกตเม เหล่าไหน?. คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. สีลวา ผู้มีศีล สีลสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล อธิคจฺฉติ = ปฏิลภติ ย่อมได้ โภคกฺขนฺธํ ซึ่งกองโภคะ มหนฺตํ ใหญ่ อปฺปมาทาธิกรณํ เพราะเหตุแห่งความไม่ประมาท. อานิสงฺโส อานิสงส์ ปฐโม อย่างแรก สีลสมฺปทาย แห่งศีลที่ถึงพร้อมแล้ว สีลวโต ของผู้มีศีล อยํ นี้.

‘‘ปุน จปรํ, คหปตโย, สีลวโต สีลสมฺปนฺนสฺส กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคจฺฉติฯ อยํ ทุติโย อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ
คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อปรํ (สีลสมฺปตฺติอานิสงฺสสงฺขาตธมฺมชาตํ) ธรรมชาติคืออานิงส์แห่งความถึงพร้อมแห่งศีลอย่างอื่น ปุน จ นอกจากนี้อีก อตฺถิ มีอยู่, กิตฺติสทฺโท กิตติศัพท์ (ชื่อเสียง)  กลฺยาโณ อันงาม สีลวโต ของผู้มีศีล สีลสมฺปนฺนสฺส  ผู้มีศีลสมบูรณ์แล้ว  อพฺภุคฺคจฺฉติ ย่อมฟุ้งไป. อานิสํโส อานิสงส์ ทุติโย ที่สอง สีลวโต ของผู้มีศีล สีลสมฺปนฺนสฺส มีศีลสมบูรณ์แล้ว อยํ นี้.

‘‘ปุน จปรํ, คหปตโย, สีลวา สีลสมฺปนฺโน ยญฺญเทว ปริสํ อุปสงฺกมติยทิ ขตฺติยปริสํ ยทิ พฺราหฺมณปริสํ ยทิ คหปติปริสํ ยทิ สมณปริสํ วิสารโท อุปสงฺกมติ อมงฺกุภูโตฯ อยํ ตติโย อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ
คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อปรํ (สีลสมฺปตฺติอานิสงฺสสงฺขาตธมฺมชาตํ) ธรรมชาติคืออานิงส์แห่งความถึงพร้อมแห่งศีลอย่างอื่น ปุน จ นอกจากนี้อีก อตฺถิ มีอยู่, สีลวา ผู้มีศีล สีลสมฺปนฺโน มีศีลสมบูรณ์แล้ว อุปสงฺกมติ เข้าไป ปริสํ สู่บริษัท ยํ ยํ เอว ใดๆ ก็ตาม, คือ ขตฺติยปริสํ สู่ขัตติยบริษัท ยทิ = วา ก็ดี,   พฺราหฺมณปริสํ สู่พราหมณบริษัท ยทิ = วา ก็ดี,  คหปติปริสํ สู่สมณบริษัท ยทิ = วา  ก็ดี, สมณปริสํ สู่สมณบริษัท ยทิ = วา ก็ดี วิสารโท เป็นผู้องอาจ อมงฺกุภูโต เป็นผู้ไม่เก้อเขิน หุตฺวา เป็น อุปสงฺกมติ ย่อมเข้าไป, อานิสํโส อานิสงส์ ตติโย ที่สาม สีลวโต ของผู้มีศีล สีลสมฺปนฺนสฺส มีศีลสมบูรณ์แล้ว อยํ นี้.

‘‘ปุน จปรํ, คหปตโย, สีลวา สีลสมฺปนฺโน อสมฺมูฬฺโห กาลงฺกโรติฯ อยํ จตุตฺโถ อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ
คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อปรํ (สีลสมฺปตฺติอานิสงฺสสงฺขาตธมฺมชาตํ) ธรรมชาติคืออานิงส์แห่งความถึงพร้อมแห่งศีลอย่างอื่น ปุน จ นอกจากนี้อีก อตฺถิ มีอยู่, สีลวา ผู้มีศีล สีลสมฺปนฺโน มีศีลสมบูรณ์แล้ว อสมฺมูฬฺโห เป็นผู้ไม่หลง หุตฺวา เป็น กโรติ ย่อมกระทำ กาลํ ซึ่งความสิ้นไปแห่งชีวิต, อานิสํโส อานิสงส์ จตุตฺโถ ที่สี่ สีลวโต ของผู้มีศีล สีลสมฺปนฺนสฺส มีศีลสมบูรณ์แล้ว อยํ นี้.

‘‘ปุน จปรํ, คหปตโย, สีลวา สีลสมฺปนฺโน กายสฺส เภทา ปรํ มรณา สุคติํ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชติฯ อยํ ปญฺจโม อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทายฯ อิเม โข, คหปตโย, ปญฺจ อานิสํสา สีลวโต สีลสมฺปทายา’’ติฯ
คหปตโย ดูก่อนคฤหบดีท. อปรํ (สีลสมฺปตฺติอานิสงฺสสงฺขาตธมฺมชาตํ) ธรรมชาติคืออานิงส์แห่งความถึงพร้อมแห่งศีลอย่างอื่น ปุน จ นอกจากนี้อีก อตฺถิ มีอยู่, สีลวา ผู้มีศีล สีลสมฺปนฺโน มีศีลสมบูรณ์แล้ว อุปปชฺชติ ย่อมเข้าถึง  โลกํ ซึ่้งโลก สคฺคํ สวรรค์ สุคติํ  สุคติ ปรํ ภายหลัง มรณา จากการตาย เภทา เพราะการแตกสลาย กายสฺส แห่งกาย. อานิสํโส อานิสงส์ ปญฺจโม ที่ห้า สีลวโต ของผู้มีศีล สีลสมฺปนฺนสฺส มีศีลสมบูรณ์แล้ว อยํ นี้.




[1] อานิสํส (อา + นิ + สํส สรรเสริญหรือกล่าว + อ) อานิสงส์ ในที่นี้หมายถึง อานุภาพ หรือคุณของธรรมฝ่ายดีนั้นๆ. (ปฏิสัมภิทามรรคคัณฐีบท มาติกากถาวรรณนา).  คัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาคาถา ๗๖๗ แสดง อานิสงฺส ศัพท์ไว้ในอรรถว่า ผล ร่วมกับคำว่า คุณ. อภิธานัปปทีปิกาฎีกา กล่าวถึงผล ที่เป็นความหมายของ อานิสํส นี้ว่า มี ๒ คือ มุขยผล ผลทั้งโดยตรง และอมุขยผล ผลโดยอ้อม.  ผลโดยตรง (มุขยผล) คือ วิปากผล ส่วน ผลโดยอ้อม (อมุขยผล) คือ อานิสังสผล และ นิสสันทผล. วิปากผล หมายถึง ปฏิสนธิ, อานิสังสผล ผลอื่นอันนอกจากปฏิสนธินั้นแห่งกรรมนั้น นิสสันทผล คือ ผลที่เกิดจากจากคุณนั้นหรือผลพลอยได้. คัมภีร์สีลขันธวรรคฎีกาอธิบายอานิสังสผลและนิสสันทผลโดยยกกรณีการให้ทานของสังขพราหมณ์ (ชา.๑.๑๐.๓๙) มาเปรียบเทียบว่า อานิสังสผล ได้แก่ การได้ฐานันดรเป็นต้น เพราะการให้ทาน, นิสสันทผล คือ ผลพลอยได้ เช่น การได้รับความคุ้มครองเพราะเหตุแห่งการให้ทานเป็นต้น, ส่วนวิบากผล ได้แก่ ผลที่เหมือนกับกุศลและอกุศล กล่าวคือ ปฏิสนธิ (สี.ฎี.๒/) ในพระบาฬีนี้ ทรงแสดงโดยไม่แยกแยะเป็นวิปากผลและอานิสํสผล แต่แยกเป็นอานิสํส คือ ผลดี และ อาทีนว หมายถึง โทษ. 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น